Time Left:
00
:
00 :
00
HRS
MIN
SEC
Time Spent: %%TIMESPENT%%
Time expired. Sorry, you will not be able to continue with this quiz. Please opt-in to see the result.
SEC
การประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน
การตรวจคัดกรองมีประโยชน์ในการค้นหาผู้ซึ่งไม่มีอาการ เพื่อการวินิจฉัยและให้การรักษาตั้งแต่ระยะเริ่มแรก อย่างไรก็ดี การทราบความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน ทำให้การคัดกรองประหยัดคุ้มค่าขึ้น ที่มาแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
เริ่มประเมินตนเอง
32 - 39 ปี
40 - 44 ปี
45 - 49 ปี
ตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป
Next
ดัชนีมวลกาย คิดจาก
(น้ำหนัก (กก.)/ส่วนสูง(เมตร)) / ส่วนสูง(เมตร)
Enter any additional information about the quiz
ต่ำกว่า 23 กก./ม.2
ตั้งแต่ 23 ขึ้นไป แต่ต่ำกว่า 27.5 กก./ม.2ตั้งแต่ 23 ขึ้นไป แต่ต่ำกว่า 27.5 กก./ม.2
ตั้งแต่ 27.5 กก./ม.2 ขึ้นไป
Next
ผู้ชายต่ำกว่า 90 ซม. ผู้หญิงต่ำกว่า 80 ซม.
ผู้ชายตั้งแต่ 90 ซม. ขึ้นไป, ผู้หญิงตั้งแต่ 80 ซม. ขึ้นไป
Next
ประวัติเบาหวานในญาติสายตรง (พ่อ แม่ พี่ หรือ น้อง)
Enter any additional information about the quiz
มี
ไม่มี
Next
%%QUESTIONANSWERS%%
Almost there...
Where can we email you the results? Please enter details below.
ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี น้อยกว่าร้อยละ 5
ระดับความเสี่ยง น้อย
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/20
ข้อแนะนำ
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ตรวจความดันโลหิต
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1-3 ปี
ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี ร้อยละ 5-10
ระดับความเสี่ยง ปานกลาง
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/12
ข้อแนะนำ
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ตรวจความดันโลหิต
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1-3 ปี
ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี ร้อยละ 11-20
ระดับความเสี่ยง สูง
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/7
ข้อแนะนำ
- - ควบคุมอาหารและออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- - ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- - ตรวจความดันโลหิต
- - ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
- - ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1-3 ปี
ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี มากกว่าร้อยละ 20
ระดับความเสี่ยง สูงมาก
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/4 - 1/3
ข้อแนะนำ
- - ควบคุมอาหารและออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- - ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- - ตรวจความดันโลหิต
- - ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
- - ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1 ปี
Retake