การประเมินความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน

15 มิ.ย. 2558 511 ผู้ใช้งาน
Image

อายุ

เพศ

ดัชนีมวลกาย (น้ำหนัก (kg)/ส่วนสูง2 (m2))

รอบเอว

ความดันโลหิต

ประวัติเบาหวานในญาติสายตรง (พ่อ แม่ พี่ หรือ น้อง)

ประเมินความเสี่ยง

ผลการประเมินและวิเคราะห์สุขภาพของคุณ

ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี น้อยกว่าร้อยละ 5
ระดับความเสี่ยง น้อย
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/20

ข้อแนะนำ
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ตรวจความดันโลหิต
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 3 ปี

ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี ร้อยละ 5-10
ระดับความเสี่ยง ปานกลาง
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/12

ข้อแนะนำ
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ตรวจความดันโลหิต
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1-3 ปี

ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี ร้อยละ 11-20
ระดับความเสี่ยง สูง
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/7

ข้อแนะนำ
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ตรวจความดันโลหิต
- ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1-3 ปี

ความเสี่ยงต่อเบาหวานใน 12 ปี ร้อยละ 20
ระดับความเสี่ยง สูงมาก
โอกาสเกิดเบาหวาน 1/4 - 1/3

ข้อแนะนำ
- ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
- ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยุ่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
- ตรวจความดันโลหิต
- ตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
- ควรประเมินความเสี่ยงซ้ำทุก 1 ปี

แสดงความคิดเห็น

  1. Avatar
    Charles Haid
    1 มีนาคม 2558Reply
    ลูกรูปร่างอ้วนมีอาการนอนกรนไม่ทราบว่าเบื้องต้นควรรักษาอย่างไรครับ
    • Avatar
      BHRC
      1 มีนาคม 2558Reply
      ให้ลูกออกกำลังกายสม่ำเสมอซัก 1สัปดาห์ แล้วสังเกตุอาการกรนว่าลดลงหรือเปล่า ถ้าหากยังไม่ดีขึ้นแนะนำให้ปรึกษาแพทย์
  2. Avatar
    Terry McDonough
    3 พฤษภาคม 2558Reply
    ขอบคุณบทความดีๆ อ่านแล้วได้ประโยชน์มากครับ
  3. Avatar
    Charles Haid
    12 พฤษภาคม 2558Reply
    อยากขอคำปรึกษาจากแพทย์ ติดต่อได้ทางไหนบ้างครับ

แสดงความคิดเห็น